ระบบสุริยะจักรวาลของเรา Solar system

 

    สุริยะจักรวาลของเรามี ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ต่างๆ โคจรหมุนรอบดวงอาทิตย์  ซึ่งโลกของเราก็เป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ อยู่ในวงโคจรอันดับที่ 3 ที่ใกล้ดวงอาทิตย์

      ซึ่งต่อจากนี้ข้อมูลภาพทั้งหลายผมได้เอามาจาก ลิงค์นี้นะครับ

http://www.airwebhosting.com/cdthamma/temp/NASA/NASA.pps

 

เพราะเป็นภาพที่แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล

      ในระบบสุริยะจักรวาลของเรานั้นมี ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนกลาง มีดาวเคราะห์บริวาลโคจรรอบอยู่ถึง 9 ดวง เรียงจากวงโคจรในสุด คือ ดาวพุธ(Mercury), ดาวศุกร์(Venus), โลก(Earth), ดาวอังคาร(Mars), ดาวพฤหัส(Jupiter), ดาวเสาร์(Saturn), ดาวยูเรนัส(Uranus), ดาวเนปจูน(Neptune), ดาวพูลโต(Pluto)

        หมายเหตุ ในปัจจุบันนี้สภาทางดาราศาสตร์ ได้ลงมติกันแล้วว่า ดาวพูลโต (Pluto) ไม่มีคุณสมบัติหมือนดาวเคราะห์ทั้ง 8 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทีตย์ จึงได้ตัดออกจากระบบดาวเคราะห์ จาก 9 ดวงเหลือเพียง 8 ดวง ผมทราบข่าว เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ 2549

      

                    เมื่อเปรียบเทียบขนาดของดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์บริวารก็จะได้ดังภาพข้างล่างนี้ (ภาพนี้ได้มาจากการสนทนาในลานธรรม)

                                หหห

 

                                 แต่ถ้าเราห่างจากโลกไปที่ 100,000 กิโลเมตร จะเห็นโลกดังรูปข้างล่างนี้เท่านั้น(เห็นเพียงโลกอย่างเดียว)

                                  

                                 ห่างจากโลกไปอีก 1 ล้านกิโลกเมตร ก็สามาถรเห็นวงโครของดวงจันทร์ที่หมุนรอบโลก วงสีขาวตามรูปข้างล่าง

                                  

                                ห่างจากโลกไปอีก 10 ล้านกิโลเมตร ก็จะเห็นแนวโคจรเป็นเพียงนิดเดียวที่จะหมุนรอบดวงอาทิตย์ วงสีน้ำเงินดังรูปข้างล่าง

                                  

                                 ห่างจากโลกไปอีก 100 ล้านกิโลเมตร ก็จะเป็นแนวโครจรเพียงส่วนเดียวของโลก(สีน้ำเงิน) กับส่วนหนึ่งของแนวโครจรของดาวศุกร์ (เป็นสีเขียว)เท่านั้น ดังภาพข้างล่าง

                                 

                                 ห่างจากโลกไปอีก 1,000 ล้านกิโลเมตร ก็จะเห็นวงโคจรของดาวอังคาร(สีแดง)และวงโคจรของดาวพฤหัส(สีเหลื่อง) เพิ่มขึ้นมารวมทั้งเห็นดวงอาทิตย์และวงโคจรของดาวพุธ(สีขาว) เข้ามาอยู่ในกรอบมุมมองดังรูปข้างล่าง

                                 

                                ห่างจากโลกไปอีก 10,000 ล้านกิโลเมตร ก็จะเห็นวงโคจรครบทั้งเก้าดวง แต่ตั้งแต่วงโครจรของดาวพุธถึงดาวอังคาร(วง 1 ถึง 4) เสมือนรวบรวมกัน ดังรูปข้างล่าง

                               

                              หรืออีกภาพหนึ่ง

                               

                              แต่เมื่อไปอีกไกลจากโลกไป ถือ 100,000 ล้านกิโลเมตรก็จะเห็นแต่จุดสว่างของดวงอาทิตย์เท่านั้น กับการจำลองแนวโคจรของดาวเคราะห์บริวาลได้ดังภาพข้างล่าง

                               

 

                                                      มุ่งสู่การมองเห็นดาวฤกษ์อื่นที่อยู่ใกล